ประวัติคนหางาน
ตำแหน่งงานที่ต้องการ :
ครู เจ้าหน้าที่  
ประเภทของงาน :
งานประจำ  
เงินเดือนที่ต้องการ :
22,000  
สถานที่ต้องการทำงาน
ภาค :
xxxx  
จังหวัด :
xxxx  
เขต/อำเภอ :
xxxx  
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ :
xxxx 
นามสกุล :
xxxx 
เพศ :
หญิง  
วัน/เดือน/ปีเกิด :
02-สิงหาคม-2520  
อายุ :
46  
สัญชาติ :
xxxx 
เชื้อชาติ :
xxxx 
ศาสนา :
xxxx  
ส่วนสูง :
xxxx 
น้ำหนัก :
xxxx 
ตำหนิ :
xxxx 
กรุ๊ปเลือด :
xxxx 
สถานที่เกิด :
xxxx 
โรคประจำตัว :
xxxx  
สถานะความเป็นอยู่ :
xxxx 
สถานะครอบครัว :
xxxx 
สถานะทางทหาร :
xxxx 
ที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้สะดวก
ที่อยู่ :
xxxx  
แขวง/ตำบล :
xxxx  
เขต/อำเภอ :
xxxx  
จังหวัด :
xxxx  
รหัสไปรษณีย์ :
xxxx 
เบอร์โทรศัพท์บ้าน :
xxxx  
เบอร์มือถือ :
xxxx  
E-mail :
xxxx
ประวัติการศึกษา
ระดับการศึกษาสูงสุด :
ปริญญาตรี  
ชื่อสถาบันสูงสุด :
xxxx 
สาขา :
สถิติศาสตร์ 
วิชาเอก :
สถิติประยุกต์ 
เกรดเฉลี่ย :
2.52 
ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
มี  
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มี  
ระดับ ชื่อสถาบัน จังหวัด ประเทศ ปีการศึกษา วุฒิที่ได้รับ
xxx  xxx  xxx  xxx  xxx  xxx 
xxx  xxx  xxx  xxx  xxx  xxx 
ความสามารถทางด้านภาษา
ภาษา
พูด
เข้าใจ
อ่าน
เขียน
ไทย
ดีมาก 
ดีมาก 
ดีมาก 
ดีมาก  
อังกฤษ
พอใช้  
พอใช้  
พอใช้  
พอใช้  
ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT )
โปรแกรม
ความสามารถ ( ใช้งานได้ )
1. โปรแกรมสำนักงาน
(Word , Excel , Powerpoint , Access)
ดี  
2. โปรแกรม Multimedia
(Cai , Flash , Autoware , etc. )
ไม่ได้เลย  
3. โปรแกรมตัดต่อ VDO , sound , Effect
( Premier , Ulead , Sound Forge , etc. )
พอใช้  
4. โปรแกรมสร้างกราฟิก ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
( photoshop , Illustrator , etc. )
ดี  
5. โปรแกรมสร้างเว็บไซต์
( Dreamweawer , Wordpress , CMS ต่างๆ หรืออื่นๆ )
ไม่ได้เลย  
6. การพัฒนาซอฟต์แวร์
6.1 Window based Application
ไม่ได้เลย  
6.2 Web based Application
ไม่ได้เลย  
6.3 Mobile Application
ไม่ได้เลย  
7. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ชำนาญ
 
8. Database ที่ชำนาญ
 
9. ระบบเครือข่าย ( ติดตั้ง-ซ่อมบำรุง )
9.1 Window
ดี  
9.2 Linux / Unix
ไม่ได้เลย  
10. การซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์
(เครื่องคอมพิวเตอร์ , ปรินท์เตอร์ , อื่นๆ )
พอใช้  
ความสามารถทางด้านดนตรี
เครื่องดนตรี
ความสามารถ ( ใช้งานได้ )
1. เครื่องดนตรีไทย
(ระนาด , ขลุ่ย , ซอ , พิณ ฯลฯ )
ไม่ได้เลย  
2. เครื่องดนตรีสากล
( เปียโน , คีย์บอร์ด , กีตาร์ ฯลฯ )
ไม่ได้เลย  
ความสามารถทางด้านอื่นๆ
ความสามารถ :
 
เกียรติประวัติ - รางวัลต่างๆ
รางวัล
จากสถาบัน
ปี พ.ศ.ที่ได้รับ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ประวัติการทำงาน
ประสบการณ์การทำงาน :
xxxx ปี 
1 )
ชื่อสถานประกอบการ 1 :
xxxx  
ระยะเวลาเริ่มทำวันแรก :
02-กุมภาพันธ์-2559  
-จนถึงวันสุดท้าย :
31-ธันวาคม-2560  
ตำแหน่ง 1 :
ครูที่ปรึกษา ทะเบียนวัดผล  
เงินเดือนสุดท้าย 1 :
22000  
สาเหตุที่ลาออก 1 :
 
 
2 )
ชื่อสถานประกอบการ 2 :
xxxx  
ระยะเวลาเริ่มทำวันแรก :
02-มิถุนายน-2553  
-จนถึงวันสุดท้าย :
03-ตุลาคม-2559  
ตำแหน่ง 2 :
 
เงินเดือนสุดท้าย 2 :
18000  
สาเหตุที่ลาออก 2 :
 
 
3 )
ชื่อสถานประกอบการ 3 :
xxxx  
ระยะเวลาเริ่มทำวันแรก :
15-พฤษภาคม-2551  
-จนถึงวันสุดท้าย :
30-เมษายน-2552  
ตำแหน่ง 3 :
อาจารยืสาชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  
เงินเดือนสุดท้าย 3 :
12000  
สาเหตุที่ลาออก 3 :
ตั้งครรภ์  
 
4 )
ชื่อสถานประกอบการ 4 :
xxxx  
ระยะเวลาเริ่มทำวันแรก :
01-มิถุนายน-2548  
-จนถึงวันสุดท้าย :
30-เมษายน-2551  
ตำแหน่ง 4 :
อาจารย์สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  
เงินเดือนสุดท้าย 4 :
12000  
สาเหตุที่ลาออก 4 :
ย้ายที่ตั้งสถานศึกษา  
 
การฝึกอบรม
หัวข้อ
สถาบัน
ระยะเวลา
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
บุคคลผู้รับรอง ( อ้างอิงได้ )
ลำดับ
ชื่อ
นามสกุล
ความสัมพันธ์
สถานที่ติดต่อ
เบอร์โทรศัพท์
1
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
2
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
3
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
แสดงความรู้ ความเข้าใจ และทัศนะของท่าน
1)ทัศนคติต่อการศึกษาไทย :
ยังสามารถพัฒนาไปได้อีกค่ะ..เพื่อให้การศึกษาทันกับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย 
2)ทัศนคติของท่านต่อสภาพสังคมไทยในปัจจุบัน :
ข่าวสาร ข้อมูลรวดเร็วขึ้น สภาพจิตใจคนอ่อนแอลง กล้าที่จะแสดงความคิดเห็นกันมากขึ้น ดิฉันจึงอยากเป็นส่วนหนึ่งในสังคมที่ช่วยปลูกฝังเยาวชนไทย ให้เป็นคนเก่ง ดี มีศีลธรรม  
3)กัลยาณมิตรและโยนิโสมนสิการกับการศึกษา :
โยนิโสมนสิการเป็นกระบวนการคิด เป็นวิธีการที่ให้บุคคลมีหลักการและวิธีการคิดที่ก่อให้เกิดประโยชน์ เพื่อให้ง่ายต่อการนำไปใช้ในกระบวนการสอน ขอใช้ในความหมายง่าย ๆ ว่า โยนิโสมนสิการ คือ กระบวนการคิดหาเหตุ หรือกระบวนการพิจารณาหาเหตุ เหตุ คือ อะไร เหตุ คือ เงื่อนไขจำเป็นที่ทำให้เกิดสิ่งหนึ่งตามมา สิ่งที่ตามมาเรียกว่า ผล เหตุและผลมีความสัมพันธ์โยงถึงกัน ดังนั้น ถ้ารู้เหตุ ก็สามารถรู้ผลได้ หรือรู้ผลก็โยงไปหาเหตุได้ แต่ในการค้นหาเหตุได้ ต้องมีพื้นฐานความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ถ้ามีความรู้มาก ก็มีโอกาสตรึกตรองถึงความสัมพันธ์ของเหตุและผลได้ลึกและละเอียดมากตามไปด้วย ดังนั้น ก่อนการพิจารณาเหตุและผล จึงต้องมีความรู้ หลักการ กฎเกณฑ์ ที่ตรงกับความเป็นจริงเป็นเบื้องแรก ความรู้ที่เป็นพื้นฐานความรู้นั้นมาจากไหน คำตอบ คือ ความรู้เหล่านั้นมาจากการรับรู้จากภายนอก หรือ “ปรโตโฆษะ” หรือ สิ่งเร้า หรือ ประสบการณ์ หรือ จากการเรียนรู้ ซึ่งเริ่มต้นจากมีผู้แนะนำ ชี้ทาง ในสิ่งที่ถูก หรือ กัลยาณมิตร เป็นผู้ที่หวังดีที่จะให้เกิดการพัฒนาไปในทางที่ดี ด้วยเหตุที่คุณลักษณะของกัลยาณมิตรประกอบด้วย ปิโย มีความน่ารัก ความน่ารักเป็นฐานที่ทำให้เกิดความสบายใจและสร้างความสนิทใจ ชวนให้อยากเข้าไปใกล้ชิด การทำตนให้เป็นที่น่ารักนั้นมีหลักธรรมอื่นมาเสริมอีกหลายข้อ เช่น สังคหวัตถุ ธรรมทำให้งาม พรหมวิหาร ครุ มีความน่าเคารพ มีความไว้วางใจ จากฐานความประพฤติที่สมควรตามสถานภาพ เป็นเหตุก่อให้เกิดความไว้วางใจ เป็นที่พึ่งได้และมีความปลอดภัย ภาวนีโย เป็นผู้ปฏิบัติได้จริง ทั้งในด้านความคิด ความรู้และการปฏิบัติ พัฒนาและปรับปรุงตนอย่างสม่ำเสมอ เมื่อผู้ใดได้อยู่ใกล้ชิดก็ได้ประโยชน์ ระลึกถึงด้วยความซาบซึ้งและภูมิใจ วัตตา จ รู้จักพูดให้เกิดประโยชน์นำไปสู่ผลที่ต้องการ ให้คำปรึกษาที่ดี แนะนำ ตักเตือน ชี้แจง ชี้ประเด็นให้เกิดความรู้ ความเข้าใจได้ง่าย วจนกฺขโม อดทนต่อถ้อยคำ หรือพร้อมรับฟังถ้อยคำด้วยความอดทน ไม่หงุดหงิดฉุนเฉียว ฟังได้ไม่เบื่อ ทั้งในข้อปรึกษา วิพากษ์ วิจารณ์ ข้อเสนอ หรืออื่น ๆ คัมภีรญฺจ กถํ กตฺตา รู้จริง แถลงเรื่องลึกล้ำได้ ถ่ายทอดเรื่องที่ยุ่งยากซับซ้อนให้เข้าใจได้ง่าย และเรียนรู้เรื่องที่ลึกซึ้งได้ โน จฏฺฐาเน นิโยชเย ไม่แนะนำชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย แนะนำแต่ทางที่ดีมีประโยชน์ กัลยาณมิตรเป็นปัจจัยสำคัญในการก่อให้ผู้เรียนมีความรู้ วิธีคิด และการปฏิบัติที่ถูก เป็นพื้นฐานของการเกิดสัมมาทิฏฐิ คือ หลักการ กฎเกณฑ์ ทฤษฎี กับสัมมาสังกับปะ คือ ความคิดรวบยอดที่ถูก หรือมโนทัศน์ มโนมติ (ปัจจุบันอาจใช้คำว่าความคิดใหญ่ “big ideas”) แล้วแต่จะเรียกตามข้อกำหนดของสำนักการศึกษา เนื่องจากความรู้เกี่ยวกับหลักการ กฎเกณฑ์ และความคิดรวบยอดเหล่านี้จะนำไปใช้ในการตรึกตรองในกระบวนการคิดพิจารณาความสัมพันธ์ของเหตุและผลในโยนิโสมนสิการ