ประวัติคนหางาน
ตำแหน่งงานที่ต้องการ :
ครูสอนวิชาคณิตศาสตร์  
ประเภทของงาน :
งานประจำ  
เงินเดือนที่ต้องการ :
15,000  
สถานที่ต้องการทำงาน
ภาค :
xxxx  
จังหวัด :
xxxx  
เขต/อำเภอ :
xxxx  
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ :
xxxx 
นามสกุล :
xxxx 
เพศ :
ชาย  
วัน/เดือน/ปีเกิด :
30-สิงหาคม-2538  
อายุ :
28  
สัญชาติ :
xxxx 
เชื้อชาติ :
xxxx 
ศาสนา :
xxxx  
ส่วนสูง :
xxxx 
น้ำหนัก :
xxxx 
ตำหนิ :
xxxx 
กรุ๊ปเลือด :
xxxx 
สถานที่เกิด :
xxxx 
โรคประจำตัว :
xxxx  
สถานะความเป็นอยู่ :
xxxx 
สถานะครอบครัว :
xxxx 
สถานะทางทหาร :
xxxx 
ที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้สะดวก
ที่อยู่ :
xxxx  
แขวง/ตำบล :
xxxx  
เขต/อำเภอ :
xxxx  
จังหวัด :
xxxx  
รหัสไปรษณีย์ :
xxxx 
เบอร์โทรศัพท์บ้าน :
xxxx  
เบอร์มือถือ :
xxxx  
E-mail :
xxxx
ประวัติการศึกษา
ระดับการศึกษาสูงสุด :
ปริญญาตรี  
ชื่อสถาบันสูงสุด :
xxxx 
สาขา :
ครุศาสตร์-ศึกษาศาสตร์ 
วิชาเอก :
คณิตศาสตร์ 
เกรดเฉลี่ย :
3.14 
ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
มี  
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มี  
ระดับ ชื่อสถาบัน จังหวัด ประเทศ ปีการศึกษา วุฒิที่ได้รับ
xxx  xxx  xxx  xxx  xxx  xxx 
xxx  xxx  xxx  xxx  xxx  xxx 
xxx  xxx  xxx  xxx  xxx  xxx 
ความสามารถทางด้านภาษา
ภาษา
พูด
เข้าใจ
อ่าน
เขียน
ไทย
ดี 
ดี 
ดี 
ดี  
อังกฤษ
พอใช้  
พอใช้  
พอใช้  
พอใช้  
ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT )
โปรแกรม
ความสามารถ ( ใช้งานได้ )
1. โปรแกรมสำนักงาน
(Word , Excel , Powerpoint , Access)
ดี  
2. โปรแกรม Multimedia
(Cai , Flash , Autoware , etc. )
พอใช้  
3. โปรแกรมตัดต่อ VDO , sound , Effect
( Premier , Ulead , Sound Forge , etc. )
พอใช้  
4. โปรแกรมสร้างกราฟิก ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
( photoshop , Illustrator , etc. )
พอใช้  
5. โปรแกรมสร้างเว็บไซต์
( Dreamweawer , Wordpress , CMS ต่างๆ หรืออื่นๆ )
ไม่ได้เลย  
6. การพัฒนาซอฟต์แวร์
6.1 Window based Application
ไม่ได้เลย  
6.2 Web based Application
ไม่ได้เลย  
6.3 Mobile Application
พอใช้  
7. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ชำนาญ
 
8. Database ที่ชำนาญ
 
9. ระบบเครือข่าย ( ติดตั้ง-ซ่อมบำรุง )
9.1 Window
พอใช้  
9.2 Linux / Unix
ไม่ได้เลย  
10. การซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์
(เครื่องคอมพิวเตอร์ , ปรินท์เตอร์ , อื่นๆ )
ไม่ได้เลย  
ความสามารถทางด้านดนตรี
เครื่องดนตรี
ความสามารถ ( ใช้งานได้ )
1. เครื่องดนตรีไทย
(ระนาด , ขลุ่ย , ซอ , พิณ ฯลฯ )
พอใช้  
2. เครื่องดนตรีสากล
( เปียโน , คีย์บอร์ด , กีตาร์ ฯลฯ )
ไม่ได้เลย  
ความสามารถทางด้านอื่นๆ
ความสามารถ :
เล่นกีฬาหมากกระดานได้ เช่น หมากล้อม หมากรุก A-math  
เกียรติประวัติ - รางวัลต่างๆ
รางวัล
จากสถาบัน
ปี พ.ศ.ที่ได้รับ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ประวัติการทำงาน
ประสบการณ์การทำงาน :
xxxx ปี 
1 )
ชื่อสถานประกอบการ 1 :
xxxx  
ระยะเวลาเริ่มทำวันแรก :
01-สิงหาคม-2562  
-จนถึงวันสุดท้าย :
30-กันยายน-2562  
ตำแหน่ง 1 :
Telesales  
เงินเดือนสุดท้าย 1 :
8000  
สาเหตุที่ลาออก 1 :
ปัญหาการเดินทางและสภาพงานไม่เหมาะสมกับตัวเอง  
 
การฝึกอบรม
หัวข้อ
สถาบัน
ระยะเวลา
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
บุคคลผู้รับรอง ( อ้างอิงได้ )
ลำดับ
ชื่อ
นามสกุล
ความสัมพันธ์
สถานที่ติดต่อ
เบอร์โทรศัพท์
1
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
2
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
3
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
แสดงความรู้ ความเข้าใจ และทัศนะของท่าน
1)ทัศนคติต่อการศึกษาไทย :
การศึกษาไทยเป็นการศึกษาที่เน้นวิชาการเป็นหลัก มักจะจัดการศึกษาในห้องเรียน โดยมีครูเป็นผู้บรรยาย จะมีบางส่วนที่มีการจัดกิจกรรมในห้องเรียนโดยให้เด็กช่วยกันทำงานเช่น งานกลุ่มหรือ การใช้ใบงาน 
2)ทัศนคติของท่านต่อสภาพสังคมไทยในปัจจุบัน :
สังคมไทยในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างจากสมัยก่อนค่อนข้างมาก ในการเรียนการสอนและการจัดการเรียนรู้ควรที่จะต้องปรับให้เหมาะสมเพื่อให้เด็กสามารถนำความรู้ไปต่อยอดไปใช้งานในชีวิตจริงได้ เช่น มีการให้เด็กฝึกเขียนเป้าหมาย ทดสอบความรู้ว่าตัวเองอยากจะทำอาชีพอะไรอยากเป็นอะไร เพื่อให้เด็กมีแนวทางที่ตัวเองจะต้องการและทำให้สามารถเลือกวิชาที่อยากจะเรียน วิชาที่จำเป็นต้องเรียนได้อย่างเหมาะสม  
3)กัลยาณมิตรและโยนิโสมนสิการกับการศึกษา :
กัลยาณมิตร และ โยนิโสมนสิการ สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ เป็นทิฏฐิ คือความเห็น เป็นทัสสนะ คือ ความเห็น เป็นญาณะ คือความรู้ หรือเป็นปัญญา คือความรู้ทั่วถึงที่จำต้องการเป็นขั้นต้นของทุกๆคนในโลกแต่ว่าจะได้สัมมาทิฏฐิ คือความเห็นชอบดั่งนี้ได้ ก็ต้องอาศัยความที่ใช้ปัญญาที่มีอยู่เป็นพื้น ในการประกอบปลูกปัญญาให้ยิ่งๆขึ้นไป ด้วยการ ฟัง การเรียน อันรวมในคำว่า สุตะ ด้วยการ คิด พินิจพิจารณา อันรวมเรียกว่า จินตา และ ด้วยการปฏิบัติ อบรมต่างๆ ในข้อที่พึงปฏิบัติอบรมนั้น อันเรียกว่า ภาวนา และเมื่อได้ ประกอบปฏิบัติปลูกปัญญา อบรมปัญญา เพิ่มพูนปัญญาในทางที่ถูกต้องอยู่เสมอ ก็ย่อมจะได้ ปัญญา ที่เป็นปัญญาถูกต้อง อันเรียกว่า สัมมัปปัญญา ได้สัมมาทิฏฐิ คือความเห็นชอบดังกล่าว และข้อนี้ได้มีพระพุทธภาษิตตรัสไว้ในที่อื่นอีกว่า ก็ต้องอาศัย มิตตสัมปทา คือความถึงพร้อมด้วยมิตร อันหมายความว่า ได้มิตรที่ดีงาม อันเรียกว่า กัลยาณมิตร พระพุทธเจ้า เป็นยอดกัลยาณมิตร มารดาบิดาครูอาจารย์ทั้งหลายก็เป็นกัลยาณมิตร เพื่อนมิตรทั้งหลายซึ่งเป็นผู้ทรงปัญญาสามารถ ที่จะให้คำแนะนำอบรมอันถูกต้องได้ ก็เรียกว่ กัลยาณมิตร โยนิโสมนสิการ ที่แปลว่า การทำไว้ในใจ จับให้ถึงต้นเหตุ ดังเช่นเมื่อกำหนดเพื่อรู้จักอกุศล ก็ต้องจับให้ถึงต้นเหตุว่ามีมูลเหตุมาจากต้นเหตุ มาจาก โลภะ โทสะ โมหะ ซึ่งเป็นอกุศลมูล และเมื่อกำหนดเพื่อรู้จัก กุศลมูล ก็ต้องจับให้ถึงต้นเหตุ ว่ามีต้นเหตุหรือมูลเหตุมาจากกุศลมูล คือ อโลภะ อโทสะ อโมหะ ดังกล่าว ความใส่ใจ ความกำหนดใจ พินิจพิจารณาจับเหตุของผลให้ได้ดั่งนี้ คือ โยนิโสมนสิการ ก็ต้องอาศัย โยนิโสมนสิการนี้อีกข้อหนึ่ง ได้มีพระพุทธภาษิตตรัสไว้ว่า กัลยาณมิตรและโยนิโสมนสิการ นี้ เป็นเบื้องต้นของสัมมาปฏิบัติทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็น สมาธิ ไม่ว่าจะเป็นปัญญา หรือจะคลุมไปถึง ศีล 5 ทั้งหมด ต้องอาศัย กัลยาณมิตร และโยนิโสมนสิการ มาตั้งแต่เบื้องต้น เหมือนอย่างรุ่งอรุณเป็นเบื้องต้นของวัน กัลยาณมิตรและโยนิโสมนสิการก็เปรียบเหมือนว่าเป็นรุ่งอรุณ เป็นเบื้องต้นของความสว่าง ของสัมมาปฏิบัติ คุณงามความดีทั้งสิ้น อันนับว่าเป็นความสว่าง จึงต้องอาศัยกัลยาณมิตรและโยนิโสมนสิการดั่งนี้ ในหมวดธรรมบางหมวด ก็ได้ตรัสอธิบายขยายความออกไปในทางปฏิบัติว่า ส้องเสพคบหาสัตบุรุษ คือคนดี ก็ได้แก่ กัลยาณมิตรนี้เอง ฟังธรรมของคนดี มีโยนิโสมนสิการใส่ใจ คือนำเอาธรรมะที่ฟังมาใส่ไว้ในใจ ตั้งต้นตั้งแต่ ตั้งใจฟัง ตั้งใจพิจารณา จับเหตุจับผลและปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ข้อใดที่พึงละก็ละ ข้อใดที่พึงปฏิบัติก็ปฏิบัติ ข้อใดพึงปฏิบัติก่อนก็ปฏิบัติก่อน ข้อใดที่พึงปฏิบัติหลังก็ปฏิบัติหลัง ดั่งนี้เป็นต้น เรียกว่า ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม และเมื่อมีทั้ง 4 ข้อนี้ ก็เป็นอันว่า นำให้ได้ สัมมาทิฏฐิ คือความเห็นชอบ ความเห็นตรง นำให้ความเลื่อมใสที่ไม่หวั่นไหวในพระธรรม นำมาสู่สัทธรรม คือ ธรรมของ สัตบุรุษ หรือธรรมที่ดี คือ ถูกต้อง คือพระธรรมวินัยนี้ดั่งนี้ เพราะฉะนั้น ปัญญาที่ต้องการในทางพุทธศาสนา อันเป็นขั้นต้นที่ต้องการคือปัญญาที่ทำให้เป็นสัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบดั่งกล่าว แต่ว่าพึงทำความเข้าใจด้วยอีกว่า ความรู้ที่เป็นตัวปัญญา ที่เป็นสัมมาทิฏฐิ ไม่ใช่ สัญญา คือความทรงจำ เช่นการเรียน ความจำนี้ยังไม่เป็นปัญญา ยังไม่เป็นสัมมาทิฏฐิ ต้องอาศัยความคิดพินิจพิจารณาและการปฏิบัติอีกด้วย คือว่า ต้องคิดพิจารณาไป และต้องปฏิบัติไป ก็คือ ปหานะ ละ อย่างหนึ่ง ภาวนา ทำให้มีขึ้น ให้เป็นขึ้น อย่างหนึ่ง ละคือฝึก ละ อกุศลกรรมบถทั้ง 10 นี้เป็นข้อปฏิบัติฝึกหัด ละ ภาวนา คือ ทำให้มีขึ้นให้เป็นขึ้นนั้น คือต้องปฏิบัติที่จะประกอบกุศลกรรมบถทั้ง 10 และอบรม กุศลมูล คือ อโลภะ อโทสะ อโมหะ ให้มีขึ้น ให้บังเกิดขึ้นในจิตใจ นี้รวมเข้าในคำว่า สุตะ จิตตา ภาวนา ซึ่งเป็นเหตุให้ได้ปัญญา ที่ได้จากการเรียนการอ่าน ก็เรียกว่า สุตมัยปัญญา ที่ได้จากการคิดพินิจพิจารณา ก็เรียกว่า จินตามัยปัญญา ที่ได้จากการปฏิบัติอบรม ก็เรียกว่า ภาวนามัยปัญญา แต่ว่าใน 3 ข้อนี้ ก็ต้องประกอบด้วยทั้ง ละ และทั้งทำให้มีขึ้น ดังกล่าวนั้น และเมื่อปฏิบัติไป ปฏิบัติไป อาศัย สุตะ อาศัย จินตา อาศัย ภาวนา ทั้ง 3 นี้ ก็ย่อมจะได้ปัญญาที่เป็นตัวความรู้ขึ้น ของตัวเอง ได้ความเห็นขึ้นของตัวเอง ซึ่งมีคำเรียกว่า ญาณทัสสนะ ความรู้ ความเห็น ในการปฏิบัติธรรมทั้ง 3อย่างนั้น ก็ต้อง อาศัย กัลยาณมิตร และอาศัยโยนิโสมนสิการ ประกอบกันตลอดเวลา ฉะนั้นผู้มุ่งจะได้ปัญญาที่เป็นสัมมาทิฏฐิ จะต้องปฏิบัติตาม มงคลสูตรคาถาแรกของพระพุทธเจ้า อยู่ให้เป็นประจำ คือ ไม่เสวนาคบหาคนพาลทั้งหลาย เสวนาคบหาบัณฑิตทั้งหลาย และบูชาผู้ที่ควรบูชาทั้งหลาย เมื่อปฏิบัติได้ดังนี้ จึงจะได้ กัลยาณมิตร และเมื่อมีโยนิโสมนสิการประกอบอยู่ตลอด ก็ย่อมจะเจริญปัญญาขึ้นโดยตลอด ทำให้เกิดความรู้ของตัวเองขึ้นรับรองว่านี่เป็นอย่างนี้จริง ข้อนี้เป็นจริง และเมื่อได้ปัญญาคือความรู้ของตัวเอง ให้เกิดความเห็นชอบ ที่เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ